ทริปเล็กๆของเรา
- ตกปลาที่เทพขาหยั่ง
- ปลาหน้าดินหน้าเกาะ
- ใจสั่งมากะปลาอินทรีย์
- ตกปลาวันหยุดครับ
- เกาะนมสาว ภาค4
- ตามล่าไอ้หน้าหวาย
- ตกปลาริมฝั่งโขง
- กระพงธรรมชาติ
- คีรีธาร...ผมทำทุกอย่างแล้วนะ..เฮ้อ
- ไม่รู้ไปไหน..ก็ไปกระชัง..(อีกละ)
- เกาะนมสาว ภาค3 ตอน หมึก ขี้เมา คนเล่าเพลง
- ว่าที่โฮมสเตย์ใหม่กับปลาใหญ่แต่หลุด....(อิอิ)
- แอบดูกระพง..ปลายเนิน...แหลมสิงห์
- ช่อนท่าใหม่ ขโมง
- ลุยโคลนจันท์ ล่าฝัน วันของน้อง
- ถล่มฝูงกะทะแล้วฉะกับข้างปาน
- ขนำน้อยปลายเนินแหลมสิงห์
- เกาะลอย อ.ขลุง เมืองจันท์
- ใจสั่งมาโชว์
- ไปนอนเขื่อนคีรีธาร
- ปลาฝ้าย..กับความทรงจำดีๆ..
- ปลาดุก+ช่อนบ่อร้าง
- ปลากดเกาะแมว(รวมมิตร)
- เกาะนมสาว ภาค 2
- เกาะนมสาว ภาค 1
ทริกต่างๆ
- เทคนิคตกปลากดขั้นเทพ
- การทำคัน เบ็ดตกปลา (ภาค1)
- การทำคัน เบ็ดตกปลา (ภาค2)
- วิธีคดตัวเบ็ดตกกุ้ง
- การพันไกด์คันเบ็ด..ง่ายจัง
- การพันด้ายคันเบ็ด ใครว่ายาก..
- เทคนิคการผูกลูกหมุนด้วยสลิง
- เทคนิคการผูกเบ็ดด้วยสลิง
- การทำสายหน้ารีดเดอร์ลวดเป็น
- เงื่อนrapala
- เงื่อนbullwhip_popper
- เงื่อนbloodknot
- เงื่อน nailknot
- เงื่อนThe Albright Knot
- เงื่อนUniknot
- 5 กลยุทธ์สปิืนเนอร์เบท ภาค1
- การทำสปินเนอร์เบท
- การทำใบสปินเนอร์
- การทำกระดี่มีเสียง
- วิธีซ่อมขารอกหัก
บทความเรื่องเล่า
- สีเหยื่อกับการมองเห็นของปลา
- ระบบเบรคของรอก
- การตกปลาอายุ
- เทคนิคการเกี่ยวเหยื่อยาง # 1
- เทคนิคการใช้เหยื่อยาง # 3
- SHIMANO เหนือกว่าด้วยเทคโนโลยี
- ลัวรี่ ราพาล่าThe Story of Rapala
- เทคนิคการใช้เหยื่อปลอมPLUG
- ปลั๊กเหยื่อปลอมไม่มีวันตาย
- เหยื่อ Buzz Bait
- เทคนิคการใช้ป็อบเปอร์#1
- เทคนิคการใช้ป็อบเปอร์#2
- ครบเครื่องเรื่องSpinner Bait
- การตีเหยื่อปลอมชายฝั่งทะเล
- การตกปลาชายฝั่งทะเล
- เหยื่อปลอมโลหะ(METAL BAIT)
- The Old Man and the Sea(เฒ่าทะเล)
- พระยาพันวัง
- ปลาคืออะไร?
ข่าวนักตกปลา
วงศ์ปลา
ความเหมือนที่แตกต่าง
ปลาที่น่าสนใจ
Custom Search
ติดตามบทความได้ที่นี่ครับ
18 กุมภาพันธ์ 2556
ปลาพญานาค ( Oarfish )
ปลาพญานาค ( Oarfish ) เป็นปลาน้ำลึกพบได้ในน่านน้ำเขตร้อน อยู่ใน Order Lampriformes และอยู่ใน Family Regalecidae มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Regalecus glesne Ascanius 1772 หรือมีอีกชื่อหนึ่งที่คนเรียกว่า มังกรทะเลลึก ( Dragon of the Deep )
ปลาชนิดนี้มีขากรรไกรยาว หน้าผากโหนกคล้ายม้า ตาโต มีครีบหลังยาวตั้งแต่หัวจรดหาง โดยเฉพาะด้านหน้าจะยาวเป็นพิเศษ และมีครีบพิเศษยื่นออกมาทั้งสองข้างของส่วนหัวคล้ายใบพาย ส่วนลำตัวแบนยาว ขนาดใหญ่มีสีเงิน และเป็นปลาที่หาดูได้ยากที่สุดในโลก เพราะอยู่ในทะเลลึกถึง 3,000 ฟุต โดยเคยพบตัวใหญ่ที่สุดมีความยาวถึง 200 ฟุต
Oarfish ชื่อนี้มาจากลักษณะลำตัวที่แบนยาว โดย Oar แปลว่า รูปร่างยาว แบนเหมือนแผ่นกระดานในสมัยก่อนมีความเชื่อว่าปลาถูกแรงดันน้ำอันมหาศาลอัดจนร่างกายแบนยาว โดยตัวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่บันทึกไว้ใน Guiness Book of Wolrd Records มีความยาวถึง 11 เมตร
ปลาพญานาคเป็นปลาที่อยู่ในน้ำเค็ม เมื่ออยู่ในน้ำลึก Oxygen ต่ำ มันจะใช้ Heamocyanin ในการลำเลียง Oxygen ทำให้เลือดมีลักษณะเป็นสีเขียวฟ้า-น้ำเงิน ( สีเลือดประหลาดนี่เอง ทำให้นึกว่าเป็นพญานาคจริงๆ โดย Heamocyanin พบได้ในสัตว์กลุ่ม Arthropod (เเมงมุม เเมงป่อง กุ้ง ปู เเละเเมลงต่างๆ) และ Mollusk (หอย กับหมึก) แต่เมื่อมันขึ้นมาอยู่ในเขตน้ำตื้น มันจะค่อยๆปรับตัวโดยการเปลี่ยนไปใช้ Heamogolobin ลำเลียง Oxygen ทำให้เลือดกลายเป็นสีแดง
ตามความเชื่อดังเดิมของชาวญี่ปุ่นเชื่อว่า ปลาพญานาค สามารถเตือนเรื่องแผ่นดินไหวได้ เพราะการที่อยู่ในท้องทะเลลึก อาจทำให้มันสามารถสัมผัสกับสัญญาณของเปลือกโลกได้ ถ้ามีปลาพญานาคขึ้นมาที่ผิวน้ำจำนวนมาก นักวิชาการส่วนหนึ่งเชื่อว่าเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหว แต่ยังไม่มีข้อพิสูจน์ในเรื่องนี้ โดยปลาออร์ฟิช เมื่อใกล้ตายจะมีพฤติกรรมขึ้นบนผิวน้ำ ทำให้เป็นต้นเหตุของตำนานเกี่ยวกับมังกรทะเล พญานาค และสัตว์ประหลาดแห่งท้องทะเลมากมาย
ขอขอบคุณที่มาของข้อมูลดีๆ
ปลาพญานาค ( Oarfish )
ขอขอบคุณรูปภาพจากทุกที่มาครับ
รูปปลาพญานาค
ป้ายกำกับ:
นาค,
ปลาประหลาด,
ปลาแปลก,
ปลาพยานาค,
ปลาOarfish,
พยานาค,
Oarfish
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
.ขอบคุณที่แวะเข้ามาครับ